Posts by obels office_obels

วิวาทะเรื่อง  โลกาภิวัตน์

วิวาทะเรื่อง โลกาภิวัตน์

ในยุคที่ผ่านมาได้มีการพูดถึงโลกาภิวัตน์อย่างกว้างขวาง ทั้งที่มองเป็นวาทะกรรมและพลังแห่งการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจโลก ในบริบทวาทะกรรมทางการเมืองในการนำเสนออุดมการณ์เสรีนิยมใหม่เพื่อเสริมสร้างการครอบงำของกลไกตลาดในฐานะเป็นพลังแห่งการเปลี่ยนแปลง โลกาภิวัตน์ หมายถึงกระบวนการเคลื่อนย้ายของผู้คน สินค้า และวัฒนธรรมข้ามพรมแดนรัฐชาติ (ยศ, 2557)   ด้วยบริบทการเคลื่อนไหลของผู้คน สินค้า และวัฒนธรรมระหว่างประเทศ ทำให้เกิดวิวาทะระหว่างแนวคิด 2 รูปแบบเกี่ยวกับกระบวนการโลกาภิวัฒน์ที่ขัดแย้งกัน ดังนี้ 1) โลกาภิวัตน์ เป็นผลให้เกิดกระบวนการสร้างความเหมือนหรือมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก (Standardization)...

ธรรมาภิบาลกับเสรีภาพทางเศรษฐกิจบนการเปลี่ยนผ่านสู่ความมั่งคั่ง

ธรรมาภิบาลกับเสรีภาพทางเศรษฐกิจบนการเปลี่ยนผ่านสู่ความมั่งคั่ง

ธรรมาภิบาล (Good governance) ได้ถูกกล่าวอ้างว่าเป็นสาเหตุของการเกิดวิกฤติการณ์การเงิน ในเอเชียเมื่อปีค.ศ. 1997 ขณะนั้นธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศได้เสนอให้ประเทศในแถบเอเชียและประเทศกำลังพัฒนาต่างๆปฏิบัติตามกรอบธรรมาภิบาลระดับโลก (Global Governance) โดยให้เหตุผลว่าจะทำให้ประเทศเหล่านี้มีการพัฒนาที่ยั่งยืน (สมบูรณ์ ศิริประชัย, 2552) นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา แนวคิดธรรมาภิบาลได้ถูกนำมาใช้เป็นข้อกำหนดและหลักการของการบริหารงานของภาครัฐและภาคเอกชนของไทยที่พยายามประยุกต์และปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลในการดำเนินงาน ธรรมาภิบาลได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของการมีคุณภาพของประเทศ ศักยภาพในการบริหารประเทศ และความน่าสนใจการดำเนินธุรกิจของประเทศ ปัจจุบันมีดัชนี้ชี้วัดสำคัญๆ ที่มักนำมาใช้ในการอ้างอิงระดับธรรมภิบาลของประเทศต่างๆ...

ความยากจนที่ไม่ใช่รายได้ (Non-Income Poverty) สำคัญไฉน

ความยากจนที่ไม่ใช่รายได้ (Non-Income Poverty) สำคัญไฉน

ในทางเศรษฐศาสตร์เมื่อพูดถึง “ความจน” หรือ “Poverty” ส่วนใหญ่แล้วมักใช้เกณฑ์ทางเศรษฐกิจ (Monetary Poverty) เป็นวัดระดับรายได้หรือค่าใช้จ่ายของประชาชนว่าอยู่ในระดับต่ำกว่าค่ามาตรฐานที่เหมาะสมต่อการดำรงชีพของคนในสังคมหรือไม่ เมื่อรายได้หรือค่าใช้จ่ายต่ำกว่าค่ามาตรฐานหรือเส้นมาตรฐาน(เส้นความยากจน) ของคนส่วนใหญ่ในสังคมจะถูกจัดให้เป็นคนจน ตามทฤษฎีเศรษฐศาสตร์พัฒนาการ ความยากจนประกอบด้วย 2 มิติ ได้แก่ ความยากจนสัมบูรณ์ (absolute poverty) คือ ความยากจนด้านความต้องการพื้นฐานในการดำรงชีวิต...

โครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล: เส้นทางสู่ความตกลงการค้าเสรีดิจิทัล

โครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล: เส้นทางสู่ความตกลงการค้าเสรีดิจิทัล

เมื่อสัปดาห์ที่ผ่าน ความร่วมมือกันของอาลีบาบากับรัฐบาลมาเลเซียในการพัฒนาเขตการค้าเสรีดิจิทัล (Digital Free Trade Zone : DFTZ) จะทำให้ประเทศมาเลเซียเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการเขตปลอดภาษีดิจิทัล ถือได้ว่าได้รับความสนใจอย่างยิ่งจากประชาชนของประเทศไทย เนื่องจากช่วงเดือนตุลาคม 2559 ที่ผ่านมาระหว่างการประชุมสุดยอดกรอบความร่วมมือเอเชีย ครั้งที่ 2 นายหม่า หยุน (Mr. Jack Ma)...

การอำนวยความสะดวกทางการค้า: ขุมทรัพย์หรือกับดักทางการค้า?

การอำนวยความสะดวกทางการค้า: ขุมทรัพย์หรือกับดักทางการค้า?

นับจากวันที่ 17 พฤศจิกายน 2014 ที่องค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) ได้มีฉันทามติเห็นชอบพิธีสารแก้ไขและผนวกความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกทางการค้า (Trade Facilitation Agreement: TFA) ที่ว่าด้วยการลดขั้นตอนและระยะเวลาของพิธีการทางศุลกากรและการสร้างความชัดเจนด้านระเบียบและวิธีปฏิบัติ เข้าเป็นส่วนหนึ่งของความตกลงมาร์ราเกซจัดตั้งองค์การการค้าโลก จนกระทั่งวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2017...

ความเหลื่อมล้ำของผลลัพธ์ทางการศึกษาในพื้นที่ชายแดนอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย

ความเหลื่อมล้ำของผลลัพธ์ทางการศึกษาในพื้นที่ชายแดนอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย

บทความนี้ได้ทำการศึกษาความเหลื่อมล้ำของผลลัพธ์ทางการศึกษาของพื้นที่ชายเดนอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ในระดับมัธยมศึกษา ทั้งในระดับของความเหลื่อมล้ำของผลลัพธ์ทางการศึกษาภายใน และระหว่างโรงเรียน ตลอดจนปัจจัยที่ส่งผลต่อความเหลื่อมล้ำมองผ่านมิติของลักษณะส่วนบุคคลของนักเรียน พื้นฐานทางครอบครัว และลักษณะของโรงเรียน โดยทำการรวบรวมข้อมูลทั้งในรูปแบบของข้อมูลทุติยภูมิ การเก็บแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อนำมาวิเคราะห์เชิงปริมาณ และคุณภาพ ซึ่งในการวิเคราะห์ระดับความเหลื่อมล้ำใช้วิธีการคำนวณสัมประสิทธิ์จีนี (Gini Coefficient) ส่วนของศึกษหาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเหลื่อมล้ำใช้วิธีการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพหุ (Multiple Linear Regression)...

เชียงรายกับช่องว่างความเหลื่อมล้ำของผลลัพธ์ทางการศึกษา

เชียงรายกับช่องว่างความเหลื่อมล้ำของผลลัพธ์ทางการศึกษา

  อะไรคือความเหลื่อมล้ำของผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา? ปัญหาของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาสามารถมองออกได้หลากหลายประเด็น ทั้งในด้านของโอกาสในการเรียน ความคุณภาพทางการศึกษา หรือแม้แต่ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนก็ตาม ทำให้การศึกษาลักษณะของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาต้องมีการกรอบที่ชัดเจนอย่างมาก โดยหากมองลึกลงไปในด้านของความเหลื่อมล้ำของผลลัพธ์ หรือผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา หรือที่เรียกกันว่า ‘คะแนนสอบ’ อย่างไรก็ตามคะแนนสอบในแต่ละโรงเรียน ย่อมมีมาตรฐานที่แตกต่างกันไป จึงทำให้เกิดในสิ่งที่เรียกว่า ‘ข้อสอบมาตรฐาน’ ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากต่อการชี้วัดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ซึ่งข้อสอบมาตรฐานที่ได้รับความนิยมมากที่สุด คือ PISA ย่อมาจาก...

นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ: ไขกุญแจสู่การเติบโตของประเทศ

นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ: ไขกุญแจสู่การเติบโตของประเทศ

นวัตกรรม (Innovation) ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) นับว่ามีบทบาทอย่างมากในฐานะของการเป็นกุญแจสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศไปสู่การเติบโตและสร้างความสามารถในการแข่งขันภายใต้เศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัล ปัจจุบันมีการประเมินระดับนวัตกรรม สิ่งสร้างสรรค์ และเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศต่างๆในโลกด้วยดัชนีนวัตกรรมโลก[1] (Global innovation index) โดยความร่วมมือระหว่าง Cornell University, INSEAD และ World...

OBELS

OBELS Newsletter Volume 4 Issue 1 2016

OBELS Newsletter ฉบับนี้เป็นการนำเสนอข่าวและงานวิจัยของทางสำนักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ในช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2559   การร่วมนำเสนอผลงานวิชาการ “FDI Efficiency towards Regional Value Chain” ระหว่างวันที่ 20-21 ตุลาคม 2559 ที่ผ่านมา อาจารย์ประจำสาขาเศรษฐศาสตร์...

มายาคติและผลลัพธ์ความเหลื่อมล้ำที่จับต้องได้

มายาคติและผลลัพธ์ความเหลื่อมล้ำที่จับต้องได้

ก่อนอื่นต้องออกตัวก่อนว่าผู้เขียนไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาความเหลื่อมล้ำแต่ประการใด เป็นเพียงคนธรรมดาคนหนึ่งที่อยากเห็นประเทศไทยมีความเหลื่อมล้ำน้อยลงและมีความเท่าเทียมมากขึ้น หากแต่ว่าประเด็นปัญหาความเหลื่อมล้ำในประเทศไทยประกอบด้วยหลายมิติ เช่นความเหลื่อมล้ำทางรายได้ ความเหลื่อมล้ำทางรายจ่าย ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ความเหลื่อมล้ำทางเพศ และความเหลื่อมล้ำทางสังคมอื่นๆ ได้มีการศึกษาวิจัยเพื่อลดช่องว่างความเหลื่อมล้ำเป็นจำนวนมาก และมีการประยุกต์ใช้หลักการเดียวกันในการศึกษาในหลากหลายมิติ เช่นงานศึกษาเรื่อง “ดุลยภาพที่เหลื่อมล้ำ” โดย ศ.ดร.อารยะ ปรีชาเมตตา ที่ได้ยกตัวอย่างความเหลื่อมล้ำกับมิติต่างๆทางสังคม ได้แก่ สงครามและความเหลื่อมล้ำ ความเหลื่อมล้ำในระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพ ชาตินิยมกับความเหลื่อมล้ำ...

1 6 7 8 9 10 20