เกี่ยวกับเรา

ประวัติและข้อมูลสำนักงาน

     สำนักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics Study: OBELS) เป็นศูนย์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจการค้าชายแดนและโลจิสติกส์ เริ่มโครงการจัดตั้งเมื่อ ปี 2556 ภายใต้มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เพื่อเปิดบริการให้ข้อมูลทางเศรษฐกิจที่สำคัญแก่ประชาชนทั่วไป นักวิชาการ ภาครัฐและภาคเอกชน ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลเศรษฐกิจการค้าชายแดนและด้านโลจิสติกส์ โดยเฉพาะอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงตอนบน อันจะนำไปสู่การยกระดับองค์ความรู้ที่เป็นฐานสำคัญ ของประเทศไทย ส่งผลต่อ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของหน่วยธุรกิจและของประเทศ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตในสังคมต่อไป

สำนักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มีพันธกิจหลัก 3 ด้าน ดังนี้

1. การสร้างและจัดการคลังสะสมความรู้ การรวบรวมข้อมูลทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน โลจิสติกส์ การท่องเที่ยว และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทั้งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ ในรูปของแนวโน้มการเติบโตและดัชนีชี้วัดต่างๆ และรวบรวมข้อมูลทางสถิติระดับประเทศ ภูมิภาค และจังหวัด
2. การวิเคราะห์การวิจัยทางเศรษฐกิจ การค้าการลงทุน โลจิสติกส์ การท่องเที่ยว และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งการสร้างดัชนีชี้วัดทางด้านสิ่งแวดล้อม และเศรษฐสังคมชายแดน (Border Environmental Socio-economics: BESE index)
3. บริการวิชาการและการเผยแพร่ผลงานวิชาการ (Publications) ทางด้านเศรษฐกิจการค้าการลงทุน โลจิสติกส์ การท่องเที่ยว และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

History and Office Information

The Office of Border Economy and Logistics Study (OBELS) is an economic and logistics data center specializing in cross-border trade and logistics study. It was established in 2013 under Mae Fah Luang University. OBELS aims to provide essential economic information to the general public, academics, government agencies, and the private sector, particularly focusing on the Upper Mekong River region. This initiative is designed to elevate foundational knowledge crucial to Thailand’s development, ultimately benefiting human resources and enhancing the competitiveness of businesses and the nation. This, in turn, will contribute to improving the overall quality of life in society moving forward.

The Office of Border Economy and Logistics Study (OBELS) has three main missions as follows:

  1. Knowledge Repository Management: This involves the collection and management of economic, trade, investment, logistics, tourism, and economic and social development data. This encompasses both primary and secondary data in the form of growth trends and various indices. It also involves the collection of statistical data at the national, regional, and provincial levels.
  2. Economic Research and Analysis: OBELS conducts research in the fields of economics, trade, investment, logistics, tourism, and economic and social development. This includes the creation of environmental and socio-economic indices known as the Border Environmental Socio-economics (BESE) index.
  3. Academic Services and Publications: OBELS provides academic services and publishes research papers related to economics, trade, investment, logistics, tourism, and economic and social development.

Vision
A knowledge hub connecting the global border economy.

Contact
The Office of Border Economy and Logistics Study (OBELS)
School of Management, Mae Fah Luang University
Address: Building E1, 3rd Floor, 333 Moo 1, Tha Sut, Muang District, Chiang Rai 57100 THAILAND
Phone: +66 (0) 53 916 680
Email: obels@mfu.ac.th

วิสัยทัศน์

แหล่งข้อมูลทางปัญญาเชื่อมโยงเศรษฐกิจชายแดนโลก

โครงสร้างองค์กร

structor_OBELS-01

คณะที่ปรึกษา

1) สำนักงานจังหวัดเชียงราย
2) รศ.ดร. กิตติ ลิ่มสกุล
3) ผศ.ดร. ร่มเย็น โกไศยกานนท์

4) คณบดีสำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
5) หอการค้าจังหวัดเชียงราย (ดร.อนุรัตน์ อินทร)
6) สภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย (คุณอภิพันธ์ ภู่ภักดี)

คณะนักวิจัย

1) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพรพรรณ อุตมา
2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิสม อินทรลาวัณย์
3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พบกานต์ อาวัชนการ
4) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพันธุ์ กองบัวใหม่
5) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรัฐ หัสชู
6) อาจารย์ ระพิพงศ์ พรหมนาท

7) อาจารย์ ดร.ทศพร อารีราษฎร
8) อาจารย์ ดร.วราวุฒิ เรือนคำ
9) อาจารย์ ดร.ปพนพัชร์ ทวีอภิรดีเจริญ
10) อาจารย์ ดร.ปริญญากร แพงศรี
11) อาจารย์ ดร.กรวิชทย์ ฟักคง

นักวิจัยและผู้ช่วยวิจัย

1) นางสาวพรพินันท์ ยี่รงค์

Copy link
Powered by Social Snap