บทคัดย่อ
งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์คำศัพท์ภาษาจีนที่คงทนหลังจากการจัดกิจกรรมค่ายภาษาในการจำระยะสั้นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-5 และเพื่อวิเคราะห์ความคงทนระยะสั้นในการจำคำศัพท์ภาษาจีนของนักเรียนเพศชายและเพศหญิงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-5 ทั้งหมดจาก 3 โรงเรียนคือ โรงเรียนบ้านแม่กา โรงเรียนบ้านห้วยเคียน โรงเรียนอนุบาลเมืองพะเยาบ้านโทกหวาก จำนวน 101 คน โดยใช้แบบทดสอบคำศัพท์ก่อนและหลังเรียนกิจกรรมค่ายภาษาร่วมกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนการสอนแบบโต้ตอบ (Interactive Learning Approach)
ผลการวิจัยพบว่า หลังจากนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมค่ายภาษาในฐานภาษาจีนที่นำแนวคิดทฤษฎีการเรียนการสอนแบบโต้ตอบมาประยุกต์กับกิจกรรมแล้ว ผลวิเคราะห์ของนักเรียนในการจดจำคำศัพท์ระยะสั้นนั้นมีการพัฒนาขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยภาพรวมนักเรียนมีผลคะแนนหลังการทดสอบเพิ่มขึ้น และผลการวิเคราะห์ของเพศชายหลังจากผ่านการทดสอบก่อนและหลังร่วมกิจกรรมมีคะแนนเพิ่มขึ้นมากกว่าเพศหญิง
Abstract
This research aimed to analyze the percentage of short-term memory Chinese vocabulary retention of Prathom 4 to 6 students after an intensive language camp. The participants in this study are approximately 101 students selected by specific cluster sampling from Banmeaka School, Banhuaikien School, and Anuban Muang Phayao Banthokwak School. They are divided into 2 genders: male and female. Vocaburaly test is applied using Interactive learning approach in the analysis.
The results revealed a positive effect of the Chinese language short-term retention percentage in all genders. The students have shown higher scores in the post-test comparing to the pre-test. In addition, the results indicated that gender affects language development in that males have shown advanced development while females have shown less improvement in vocabulary retention
ธีรดา จิตรบำรุง. (2552). การศึกษาการเขียนตัวอักษรจีนของนักเรียนโดยใช้ชุดฝึกการเขียนระดับชั้น ป.
/1และ4/2 (วิจัยในชั้นเรียน). กรุงเพทพฯ: โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี.
นพาวรรณ์ ใจสุข. (2556). การพัฒนาทักษะการจดจำคำศัพท์ภาษาจีนของนักเรียนระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 (ปวช.2). ค้นจาก http://www.google.co.th/url
นวรัตน์ รามสูต และบัลลังก์ โรหิตเสถียร. (2558). ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ ศธ.
ประกาศความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. ค้นจาก http://www.moe.go.th/websm/2015/dec/454.html
ปัจลักษณ์ ถวาย. (2557). การศึกษาผลสัมฤทธิ์และความคงทนในการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประถมสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาที่เรียนโดยใช้แบบฝึกกิจกรรมเพิ่มพูนคำศัพท์ร่วมกับการอ่าน. วารสารวิจัย มสด ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 55-72.
เพ็ญนภา คล้ายสิงห์โต และคณะ. (2560). การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงและการเขียนเชิง
วิเคราะห์ภาษาไทยผ่านนิทานของนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเบ็ตตี้ดูเมน. วารสารมนุษยศาสตร์. ปีที่ 24 ฉบับ 2. หน้า 116-138.
รุ่งรัตน์ ศรีไพร. (2540). วิธีสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียนมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย
รามคำแหง.
วริศรา ยางกลาง. (2556). การจัดกิจกรรมค่ายพัฒนาภาษาอังกฤษแก่นักเรียนในท้องถิ่นเพื่อเตรียม
ความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. ปีที่24 ฉบับพิเศษ มกราคม – ธันวาคม 2556 :1-12.
ศิริยา คนิวรานนท์. (2541). ค่ายภาษาอังกฤษ: กิจกรรมเพื่อพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อ
การสื่อสารและสร้างเสริมเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียน. สารนิพนธ์ปริญญาโทสาขาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ. ภาควิชาภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโรฒ ประสานมิตร.
ศุภราภรณ์วงศ์ชัชวาลย์. (2559). การพัฒนาความรู้ดานคำศัพท์ภาษาอังกฤษ และความสามารถด้าน
การฟังภาษาอังกฤษ โดยวิธีการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง (The Total Physical Response: TPR) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านสบพลึง จังหวัดลำปาง. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา.
เหงียน ถิ หญือ อี๊. (2556). การใช้เกมคำศัพท์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาไทยของนักศึกษาชั้นปี
ที่ 1 มหาวิทยาลัยสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ นครโฮจิมินห์ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อดิศา เบญจรัตนานนท์. (2552). โครงการการสอนทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษแบบเข้ม
ให้แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 หน้า 182-198.
อนุวัติชัย เกียรติธรรม และคณะ. (2553). การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมครูสอนภาษาอังกฤษแบบ
ค่ายกิจกรรม. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. ปีที่ 4 ฉบับที่ 1. หน้า 121-129.
Bolinger, D. (1965). The atomization of meaning. Language, 41, 555-573.
Garcia-Varcarcel, A. (2007). ICT in Collaborative Learning in the Classrooms of Primary and
Secondary Education. DOSSIER. Comunicar, n. 42, v. XXI, 2014, Media Education Research Journal; ISSN: 1134-3478; pages 65-74.
Ghadessy, M. (1998). Word Lists and Materials Preparation : A New Approach. English
Teachings Forum. 17 (1) : 24 – 27.
Gillingham, A. & Stillman, B.W. (1997). The Gillingham Manual: remedial training for Students
with specific disability in reading, spelling and penmanship. (8th ed.). Cambridge, MA: Educators Publishing Service.
Gu, P.Y. (2003). Vocabulary Learning in a Second Language: Person, Task, Context and
Strategies. TESL-Ej. Vol. 7 No. 2. http://www.tesl-ej.org/ej26/a4.html
Laufer, B. (2010). Lexical threshold revisited: Lexical text coverage, learners’ vocabulary size
and reading comprehension. Reading in a Foreign Language. Volume 22, No. 1 ISSN 1539-0578 pp. 15–30.
Marion, T. (2008). The effect of gestures on second language memorization by young children.
Gesture, John Benjamins Publishing, 8 (2), pp. 219 - 235.
Read, J. (2000). Assessing Vocabulary. Cambridge: Cambridge University Press.
Markovic, I. (2007). Gender difference in children’s language. Annales Ser hist social,
(1),197-206.
Oxford, R.L., (1990) Language Learning Strategies: What Every Teacher Should Know.
Boston: Heinle & Heinle.
Wu, F. (2009) A research of Teacher-student Interactive Teaching in Primary School
Classroom (Master’s thesis). (Doctoral dissertation, Shandong Normal University, Shandong China), Retrieved from http://www.cnki.net/