VACANA
School of Liberal Arts
Mae Fah Luang University

ISSN: 2287-0903

 

ท่ามือคำศัพท์สื่อสังคมออนไลน์ในภาษามือไทย: การวิเคราะห์ไอคอน

นีรณา หนูเขียว, ศิริพร ปัญญาเมธีกุล

Abstract


บทความนี้วิเคราะห์สัญญะที่ใช้ในการประกอบสร้างท่ามือคำศัพท์สื่อสังคมออนไลน์ในภาษามือไทยโดยใช้เกณฑ์ของ Rogers (1989) ผลการวิเคราะห์พบการประกอบสร้างท่ามือด้วยการใช้ไอคอนสมมติ ไอคอนคล้าย ไอคอนตัวอย่าง ไอคอนสัญลักษณ์ โดยพบการประกอบสร้างท่ามือสื่อสังคมออนไลน์ตั้งแต่

1-3 ไอคอน ไอคอนสมมติปรากฏมากที่สุดจาก 4 ไอคอน เนื่องจากคำศัพท์สื่อสังคมออนไลน์เป็นการใช้ตัวสะกดตัวอักษรประกอบการสร้างเป็นหลัก และส่วนประกอบอื่น เช่น ท่ามือสื่อถึงท่าทาง เช่น การบิน การฟันในการต่อสู้ ท่ามือที่เป็นคำนาม เช่น ก้อนเมฆ นก เป็นต้น


Keywords


ภาษามือ:สัญญะ:คนหูหนวก:ไอคอน:ท่ามือสะกด

Full Text:

PDF

References


คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. (2563). การตั้งชื่อภาษามือศิลปินตะวันตก (ยุคศิลปะสมัยใหม่)[เอกสารประกอบการสอน]. กรุงเทพฯ: คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.

จิรกิตติ์ คูอาริยะกุล. (2564). ล่ามภาษามือ อาชีพนี้ทำอะไร [รายการโทรทัศน์]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

ปราณี กุลละวณิชย์. (2532). ภาษาทัศนา. กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราษฎร์ บุญญา. (2551). ภาษามือ ภาษาของคนหูหนวก. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ, 4(1), 77-94.

วีระศักดิ์ จันทร์ส่งแสง. (2549), เสียงจากโลกเงียบ: มือสื่อภาษาตาสื่อใจ, นนทบุรี:แผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย.

สำนักยุทธศาสตร์ สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.

(2563). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2563 Thailand

Internet User Behavior 2020.

de Saussure, F. (1959). Course in general linguistics. New York: Columbia University Press.

Deely, J. (1994). The Collected Papers of Charles Sanders Peirce. Charlottesville, VA: Intelex Corp.

Fajri, B. R., & Kusumastuti, G. (2019). Perceptions of ‘Hearing’ people on sign language learning. Advances in social science education and humanities research, 382, 364-367.

GotoKnow. (2013). การสะกดนิ้วมือไทย, Retrieved from https://www.gotoknow.org/posts/172213.

Harris, R. (2013). Ferdinand de Saussure Course in General Linguistics. London: Bloomsbury Publishing Plc.

Peirce, C. S. (1935). Collected papers of Charles Sanders Peirce: Pragmaticism and pragmaticism, scientific metaphysics. Harvard University Press.

Rogers, Y. (1989). Icon design for user interface. International reviews of ergonomics, 2, 129-154.

Williamson, A. (2013). Social media guidelines for parliaments. Inter-Parliamentary Union, 9-10.

Winter, Joe. (2018). The iconography of American Sign Language. The UX Collective

Newsletter. Retrieved from https://uxdesign.cc/the-iconography-of-american-sign-language-c27290e98055


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


User
Notifications
Journal Content

Browse
Font Size