VACANA
School of Liberal Arts
Mae Fah Luang University

ISSN: 2287-0903

 

ท่ามือคำศัพท์ผลไม้แต่ละภูมิภาคในภาษามือไทย: การวิเคราะห์ไอคอน

ณรัช วรัชจิรากร, ศิริพร ปัญญาเมธีกุล

Abstract


บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ท่ามือคำศัพท์ผลไม้แต่ละภูมิภาคในภาษามือไทยใน 4 ภูมิภาคของประเทศไทย โดยใช้แนวคิดของ Rogers (1989) ซึ่งเก็บข้อมูลจากท่ามือคำศัพท์ผลไม้ 50 ชนิด ผลการวิเคราะห์พบว่าคนหูหนวกสื่อสารท่ามือคำศัพท์ผลไม้โดยใช้ไอคอนคล้าย ไอคอนตัวอย่าง และไอคอนสมมติ การประกอบสร้างท่ามือคำศัพท์ผลไม้มาจากท่ามือหลัก
คือ 1) รูปทรง 2) วิธีรับประทาน 3) ลักษณะเฉพาะ 4) สี 5) รสชาติ โดยรูปทรงพบในตำแหน่งแรกมากที่สุด ซึ่งก็คือ ไอคอนคล้าย อย่างไรก็ตาม ไอคอนคล้ายไม่ได้ปรากฏตามลำพัง จากผลการวิเคราะห์พบการประกอบสร้างร่วมกับไอคอนตัวอย่างและไอคอนสมมติ ซึ่งเปรียบเหมือนคำขยายและสื่อด้วยการใช้ลักษณะเด่นที่แตกต่างกันของผลไม้แต่ละชนิด เพื่อสร้างความแตกต่างของผลไม้ เช่น ขนุนมียางเหนียว เงาะมีขน สตรอเบอรี่มีเม็ดเล็กๆ ที่ผลของสตรอเบอรี่ เป็นต้น 

 


Keywords


ภาษามือ; ไอคอน; สัญญะ; คนหูหนวก

Full Text:

PDF

References


กมลา ไกรฤกษ์. (2496). แบบสะกดนิ้วมือไทย.สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย.สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย

กรมสามัญศึกษา (2547). เอกสารประกอบการสอนภาษามือไทย ระดับ 1 [เอกสารที่ไม่มีการตีพิมพ์].

โรงพิมพ์คุรุสภา

จิตประภา ศรีอ่อน. (2550). ภาษามือพื้นฐาน ระดับ 1 [เอกสารที่ไม่มีการตีพิมพ์]. วิทยาลัยราชสุดามหาวิทยาลัยมหิดล

จิรภา นิวาตพันธุ์, และอภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล. (2548). คำกริยา “เปิด” ในภาษามือไทย. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อวิจัยและการพัฒนาคนพิการ, 1(2), 12–27.

พจนานุกรมภาษามือไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. (2560). ท่ามือ “ต้นไม้”.http://164.115.33.116/vocab/index.html

ศูนย์บริการถ่ายทอดการสื่อสารแห่งประเทศไทย. (2564). ท่ามือ “กังวล”. https://dic.ttrs.or.th/video/view/62e8f5bd66b04b724eaa6dac

สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย (2533). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 1. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย

Bradley , (2016). Icon, Index, and Symbol — Three Categories of Signs. https://www.scribd.com/document/383676331/Bradley-2016-Icon-Index-And-Symbol-Three-Categories-of-Signs

de Saussure, F (1972). “Course in General Linguistics” .Edited by Charles Bally and Albert Sechehaye in Collaboration with Albert Riedlinger. Translated with an Introduction and Notes by Wade Baskin. New York: McGrawhill 1966.

Denes, P.B., & Pinson, (1973). The Speech Chain. New York: Anchor Books.

Harris, R. (2013). Ferdinand de Saussure Course in General Linguistics. London: Bloomsbury Publishing Plc.

Peirce, C., (1868). “Philosophical Writings of Peirce”. Selected and Edited with an Introduction by Justus Buchler. New York: Dover Publication.

Rogers, Y. (1989). Icon design for user interface. International Reviews of Ergonomics.

Lidwell, W. & Holden, K.and Butler, J. (2003). Universal Principles of Design. Rockport Publishers Inc.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


User
Notifications
Journal Content

Browse
Font Size