VACANA
School of Liberal Arts
Mae Fah Luang University

ISSN: 2287-0903

 

กลวิธีทางภาษากับการนำเสนอภาพตัวแทนคณะก้าวหน้าในเว็บไซต์ไทยรัฐออนไลน์

วาภัช ตันติเวชวุฒิกุล, ดิเรก หงษ์ทอง, ธันวพร เสรีชัยกุล

Abstract


บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีทางภาษากับการนำเสนอภาพตัวแทนของคณะก้าวหน้าในเว็บไซต์ไทยรัฐออนไลน์ โดยคัดเลือกข้อมูลจากข่าวและบทความที่เผยแพร่ในเว็บไซต์ไทยรัฐออนไลน์ ตั้งแต่วันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2563 ถึง 21 มีนาคม พ.ศ. 2564 รวมข้อมูลทั้งสิ้น 145 ข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า เว็บไซต์ไทยรัฐออนไลน์ใช้กลวิธีทางภาษา 11 กลวิธีในการนำเสนอภาพตัวแทนคณะก้าวหน้า กลวิธีดังกล่าวนำเสนอภาพตัวแทนด้านบวกและด้านลบของคณะก้าวหน้าทั้งสิ้น 13 ภาพตัวแทน ภาพตัวแทนเหล่านี้เกิดจากอิทธิพลของสังคมวัฒนธรรมต่าง ๆ ได้แก่ นโยบายทางการเมืองของคณะก้าวหน้า จุดยืนทางการเมืองของสื่อ และความเชื่อที่มีอยู่ในสังคมไทย

Keywords


กลวิธีทางภาษา; ภาพตัวแทน; คณะก้าวหน้า; กลุ่มการเมือง; ไทยรัฐออนไลน์

Full Text:

PDF

References


กานต์ กานต์พรรณพงศ์. (2554). การสร้างความชอบธรรมทางการเมืองต่อการเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (25 พฤษภาคม – 2 ธันวาคม 2551) และกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (12 มีนาคม – 20 พฤษภาคม 2553) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ

เกร็ดความรู้. ม.ป.ป. อ้าปากก็เห็นลิ้นไก่. ค้นจาก https://www.เกร็ดความรู้.net/อ้าปากก็เห็นลิ้นไก่/

คมกริช หาญกล้า. (2562). การสื่อสารโดยใช้โซเชียลมีเดียเพื่อการเคลื่อนไหวทางการเมือง: กรณีศึกษา

พรรคอนาคตใหม่. (วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

คณะก้าวหน้า. (2563). แถลงการณ์เปิดตัว คณะก้าวหน้า. ค้นจาก https://progressivemovement.in.th/

statement/

จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2562). การวิเคราะห์ข้อความ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชญาณิศา ศรีสว่าง. (2562). การศึกษากลยุทธ์การตลาดทางการเมืองผ่านโซเชียลมีเดีย (SOCIAL MEDIA) ของพรรคอนาคตใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.2562. (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2556). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์: แนวคิดและการนำมาศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทินวัฒน์ สร้อยกุดเรือ. (2557). ภาษากับอัตลักษณ์เมียฝรั่งในวาทกรรมสาธาณะ. (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ไทยรัฐออนไลน์. (2563). ด่วน ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ "ยุบพรรคอนาคตใหม่" คดีเงินกู้ 191 ล้าน. ค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/politic/1774121

ธีระยุทธ สุริยะ. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีทางภาษากับภาพตัวแทนของชาวโรฮิงญาในสื่อออนไลน์ภาษาไทย: การศึกษาตามแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

บีบีซี ไทย. (2562). ผลเลือกตั้ง 2562: กกต. แถลงผลเลือกตั้ง 100% คะแนนมหาชนของ พปชร. พุ่งเป็น 8.4 ล้านเสียง. ค้นจาก https://www.bbc.com/thai/thailand-47730271

บีบีซี ไทย. (2564). ม.112 : กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ชาติไหนใช้ ชาติไหนเลิก. ค้นจาก

https://www.bbc.com/thai/international-59236360

ประชาชาติ. (2563). “ธนาธร” เปิดตัวคณะก้าวหน้า ชี้ “ประยุทธ์” ล้มละลายทางการเมือง ควรลาออก”. ค้นจาก https://www.prachachat.net/politics/news-435397

พรรณธร ครุธเนตร. (2547). กลวิธีทางภาษาที่ใช้โจมตีรัฐบาลทางอ้อมในปริจเฉทการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. ค้นจาก: https://dictionary.apps.royin.go.th

สิริภัทร เชื้อกุล และศิริพร ภักดีผาสุข. (2563). ภาพตัวแทนของผู้เรียนอาชีวศึกษาในวาทกรรมข่าวและบทความการศึกษาในหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย. วารสารวจนะ, 8(2), 91-125.

สุจิตรา แซ่ลิ่ม. (2561). ภาพตัวแทนของผู้ชุมนุมทางการเมืองในเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมืองช่วงปี พ.ศ.2549-2557 ในพาดหัวข่าวในหนังสือพิมพ์ภาษาไทย: การศึกษาตามแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ศิริพร ภักดีผาสุข. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอัตลักษณ์และแนวทางการนำมาศึกษาภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัจฉรียา ประสิทธิ์วงศา. (2562). การสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของพรรคอนาคตใหม่ และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของเจเนอเรชัน Z. (วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

อิทธิพล โคตะมี. (2560). ปฏิบัติการภาษาและการสร้างความชอบธรรมในการต่อสู้ของขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองไทย พ.ศ. 2549-2557. (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

อุปกิตศิลปสาร, พ. (2548). หลักภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.

เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. 2558. การเมืองเสื้อสีกับการศึกษาขบวนการโต้กลับตามจารีตการศึกษาขบวนการทางสังคมและการเมือง. วารสารสังคมศาสตร์, 27(1), 85-128.

Fairclough, N. (1995). Media Course. London: Arnold.

Hall, S. (1997). Representation: cultural representations and signifying practices. London: SAGE.

Truehits. (2020). Top 10 Websites. Retrieved from http://m.truehits.net/directory.php?cid=9


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


User
Notifications
Journal Content

Browse
Font Size