VACANA
School of Liberal Arts
Mae Fah Luang University

ISSN: 2287-0903

 

การเดินทางไกลอันซับซ้อนของฉากสังวาส จาก จินผิงเหมย์ สู่ ดอกเหมยในแจกันทอง

ประเทืองพร วิรัชโภคี

Abstract


นวนิยายจีนโบราณเรื่อง จินผิงเหมย์ มีจุดเด่นอยู่ที่ฉากสังวาสอันรุนแรงระหว่างตัวละครต่างๆ ในเรื่อง จนส่งผลให้นวนิยายเรื่องนี้เคยเป็นหนังสือต้องห้ามในจีน บทความชิ้นนี้ว่าด้วยการถ่ายทอดฉากสังวาสเหล่านั้นออกไปภาษาไทย โดยเลือกศึกษาฉบับแปลโดยเนียน และสด กูรมะโรหิต ในชื่อว่า ดอกเหมยในแจกันทอง ซึ่งตีพิมพ์เป็นตอนๆ ลงหนังสือพิมพ์ระหว่าง พ.ศ. 2496 – 2498 ผลการศึกษาพบว่า กลวิธีการแปลฉากสังวาสใน ดอกเหมยในแจกันทอง คือการแปลโดยตัดทอนข้อมูลที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรมทางเพศ และเลี่ยงไปใช้คำที่ให้ความรู้สึกเย้ายวนมาแทนที่ สำหรับสาเหตุที่ทำให้นักแปลเลือกที่จะแปลฉากสังวาสในลักษณะนี้ อาจเป็นเพราะผู้แปลไม่ต้องการให้ผลงานของตนถูกสังคมตัดสินว่าเป็นงานอนาจาร นอกจากนี้ ยังอาจเป็นเพราะการเผยแพร่สิ่งพิมพ์ในลักษณะดังกล่าว เป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ. 2484 อีกด้วย

Keywords


จินผิงเหมย์ ดอกเหมยในแจกันทอง ฉากสังวาส วรรณคดีจีน การแปลวรรณกรรม

Full Text:

PDF

References


ภาษาไทย

ตรีศิลป์ บุญขจร. (2521). พัฒนาการนวนิยายไทย พ.ศ. 2475-2500 : การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างนวนิยายกับสังคม (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

เนียนกับสด กูรมะโรหิต. ดอกเหมยในแจกันทอง. แสนสุข. 8 มีนาคม 2496 – 8 ตุลาคม 2498.

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (พิมพ์ครั้งที่ 2). (2554). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.

พระราชบัญญัติการพิมพ์ พุทธศักราช 2484. (2484, 30 กันยายน). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 58. หน้า 1228 – 1257.

พิบุณย์ ลิ้มอารีย์สุข. (2558). การศึกษาเปรียบเทียบส่วนเสริมกริยาบอกความเป็นไปได้ในนวนิยายจีนจินผิงเหมย์ กับฉบับแปลภาษาไทย ดอกเหมยในแจกันทอง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

วินัย สุกใส. (2554). วิวัฒนาการวรรณกรรมจีนในภาษาไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2411 - 2475 (ตอนที่ 2). จีนศึกษา 4(4): 131 - 176.

สด กูรมะโรหิต. (2537). 37 ปีของมิตรภาพ. ใน ยาขอบอนุสรณ์. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า.

อนุสรณ์รับพระราชทานเพลิงศพนายสด กูรมะโรหิต ณ เมรุวัดธาตุทอง วันอังคารที่ 23 พฤษภาคม พุทธศักราช 2521. (2521). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยเขษม.

อาทิตยา จารุจินดา. (2555). การสร้างภาพความเป็นหญิงในนวนิยายไทยสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

ภาษาจีน

Lanlingxiaoxiaosheng. 兰陵笑笑生 (2011). Gaohetang Piping Di Yi Qishu Jin Ping Mei皋鹤堂批评第一奇书金瓶梅 [Gaohetang’s Critism of Jin Ping Mei, the Greatest Book of All]. Changchun: Jilin University Press.

Li, J. 李金坤 (2008). Jin Ping Mei Shuming Yiyi Xinquan《金瓶梅》书名寓意新诠 [A New Interpretation of the Title of Jin Ping Mei]. Journal of Literature and History文苑漫步, 134: 30 – 31.

Shi, X. and Luo, Z.史小军、罗志欢 (2017). Jin Ping Mei Banben Zhijian Lu《金瓶梅》版本知见录 [Different Versions of Jin Ping Mei as We Have Known and Seen]. Beijing: National Library of China Publishing House.

Wu, G. 吴敢 (2015). The History of Researches on Jin Ping Mei 金瓶梅研究史. Zhengzhou : Zhongzhou Guji.

Xiandai Hanyu Cidian (7th edition) 现代汉语词典第七版 [Dictionary of Current Chinese]. (2016). Beijing : Commercial Press.

Xiaoxiaosheng笑笑生 (1926a). Guben Jin Ping Mei – di yi ce 古本金瓶梅——第一册 [Jin Ping Mei, the Ancient Version: Volume I]. Shanghai: Shanghai Qingyun Publishing Company.

Xiaoxiaosheng笑笑生 (1926b). Guben Jin Ping Mei – di er ce 古本金瓶梅——第二册 [Jin Ping Mei, the Ancient Version: Volume II]. Shanghai: Shanghai Qingyun Publishing Company.

Zhang, M. 张明远 (2010). Upon the Interpretation History of Jin Ping Mei (Unpublished doctoral dissertation). Shandong University, Jinan.

ภาษาอังกฤษ

Chittiphalangsri, P. (2019). From plagiarism to incense sticks: The making of self and the other in Thai translation history. In Yves Gambier and Ubaldo Stecconi (Eds), A World Atlas of Translation (pp. 105 – 124). Amsterdam: John Benjamins.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


User
Notifications
Journal Content

Browse
Font Size