VACANA
School of Liberal Arts
Mae Fah Luang University

ISSN: 2287-0903

 

“นรก”: การศึกษาสภาวะการหลายความหมายแบบมีหลักการ

ตรีนรภัทร ตรีประเคน, นัทธ์ชนัน นาถประทาน, คเชนทร์ ตัญศิริ

Abstract


บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์และแจกแจงความหมายของคำว่า “นรก” ในภาษาไทย โดยศึกษาจากถ้อยคำที่ปรากฏในคลังข้อมูลภาษาไทยแห่งชาติ (TNC) และสื่อออนไลน์ Twitter รวมทั้งสิ้น 1000 ประโยค ร่วมกับการใช้แนวคิดสภาวะการหลายความหมายแบบมีหลักการ (Principled polysemy) ในการจำแนกความหมาย พบว่า นรก มีความหมาย ‘เชิงพื้นที่ ดินแดน’ จัดเป็นความหมายต้นแบบ และมีความหมายขยายอื่นๆ จำนวน 5 ความหมาย ได้แก่  ‘พญามัจจุราช’ ‘เลว ชั่ว’ ‘สภาวะที่ไม่พึงปรารถนา’ ‘การบอกระดับมาก’ ‘ซวย ฉิบหาย’ ทั้งนี้พบว่า การขยายความหมายนั้นเป็นกระบวนการขยายความหมายด้วยกระบวนการนามนัย (Metonymy) 

 

Abstract

This article aims to analyze and clarify the meaning of the word Narók in Thai by collecting the 1000 in total of data from any utterances appearing in Thailand National Corpus (TNC) and Social network platform named Twitter.  Principled Polysemy is applied to the use of analysis to clarify each meaning; in other words, as criteria to distinguish the new meanings.  The prototypical meaning of Narók is a place for various religions is believed as a spiritual realm of evil and suffering.  Other meanings found are: 1) a god of death; 2) being bad or malevolent; 3) unfavorable state; 4) degree of extreme point; and 5) self-swearing for unfortunate event. It is also found that the word-meaning extension process is applied by metonymy.

 


Keywords


นรก; สภาวะการหลายความหมาย; กระบวนการนามนัย

Full Text:

PDF

References


จิรัชย์ หิรัญรัศ. (2550). การศึกษาควายหมายของคำว่า ‘เอา’ ในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ชชวดี ศรลัมพ์. (2538). การศึกษามโนทัศน์ของคำว่า เข้า. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นันทนา วงษ์ไทย. (2561). ภาษาและความหมาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ เค.ซี.อินเตอร์เพรส.

เบญจวรรณ ชยางกูร ณ อยุธยา. (2559). แนวทางการอธิบายเรื่องนรกและสวรรค์ในพระพุทธศาสนาสำหรับคนรุ่นใหม่. วารสารพุทธมัคค์. 1(1), 43-53.

สมจินต์ สมฺมาปญโญ. (2533). นรกและสวรรค์ในพระพุทธศาสนาเถรวาท. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. สาขาพระพุทธศาสนา มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

อรทัย ชินอัครพงศ์. (2557). การศึกษาคำด่าตามแนวอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์และ วัจนปฏิบัติศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

Evan, V & M. Green. (2006). Cognitive Linguistics An Introduction. Edinburgh: Edinburgh University Press.

Kövecses, Z., & Radden, G. (1998). Metonymy: developing a cognitive linguistic view. Cognitive Linguistics, 9(1): 291-325.

Ljung, M. (2011). Swearing A Cross-Cultutral Linguistic Study. Houndmills, Basingstoke: Palgrave Macmillan.

Reimer, N. (2005). The Semantics of Polysemy: Reading Meaning in English and Walpiri. Berlin: Mouton de Gruyter.

Tyler, A. & Evans, C. (2003). The Semantics of English preposition: Spatial scenes, embodied meaning and cognition. Cambridge: Cambridge University Press.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


User
Notifications
Journal Content

Browse
Font Size