VACANA
School of Liberal Arts
Mae Fah Luang University

ISSN: 2287-0903

 

รูปแบบภาษาแสดงอัตลักษณ์ภาษาญี่ปุ่น : กรณีศึกษาตัวละครในเกม “โปโปโลครอยซ์”

อัษฎายุทธ ชูศรี

Abstract


บทคัดย่อ

การศึกษารูปแบบภาษาแสดงอัตลักษณ์มีความสำคัญต่อการศึกษาภาษาญี่ปุ่นเพื่อการใช้ภาษาในสื่อบันเทิง เนื่องจากในกรณีภาษาญี่ปุ่นมีความแตกต่างจากภาษาที่ใช้สื่อสารจริงมาก แต่กรณีศึกษาที่ผ่านมามักศึกษาในสื่อการ์ตูน ภาพยนตร์ ผู้วิจัยจึงศึกษาในเกมโทรศัพท์มือถือ โดยใช้เกม “โปโปโลครอยซ์” ที่มีตัวละคร 89 ตัวเป็นกรณีศึกษา จากการศึกษารูปแบบภาษาแสดงอัตลักษณ์พบว่านอกจากคำสรรพนามและคำสร้างท้ายประโยคที่อ้างอิงจากงานวิจัยก่อนหน้า ยังพบรูปแบบการแยกใช้รูปธรรมดากับรูปสุภาพ และการเปลี่ยนรูปตัวอักษรเพื่อแสดงอัตลักษณ์เพิ่มเติม และพบว่าความชัดเจนของอัตลักษณ์ตัวละครจะเพิ่มขึ้นเมื่อมีส่วนแสดงรูปสุภาพ ส่วนแสดงคำสรรพนาม ส่วนคำสร้างท้ายประโยคหรือการเปลี่ยนรูปตัวอักษรเพิ่มขึ้นในภาษาของตัวละครตามลำดับ

 

Abstract

A study of character language is important to learning Japanese for entertainment because of the difference with usage in real communication. Most of study cases focused on animations and films, therefore, this study will focus on mobile game. Game application, “Popolocrois” which has 89 characters is chosen as a case study. The results are :- about patterns of character language, besides pronouns and coined words in sentence-final position which are mentioned in former research, different usage of regular and polite forms and changing character sets are also used to express the identity of the characters. In addition, the identity of the characters will be enhanced respectively by usage of polite forms, pronouns, coined words in sentence-final position or changing character sets.


Keywords


ภาษาแสดงอัตลักษณ์; ภาษาญี่ปุ่น; เกม “โปโปโลครอยซ์”; ส่วนแสดงรูปสุภาพ; การเปลี่ยนรูปตัวอักษร

Full Text:

PDF

References


ศิริพร ภักดีผาสุข. (2018) ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอัตลักษณ์และแนวทางการนำมาศึกษาภาษาไทย. โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัษฎายุทธ ชูศรี.(2013)เอกสารประกอบการสอนรายวิชาภาษาในสังคมญี่ปุ่น ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Chusri, A.(2013)Japanese Education in Thailand and Character Words. Asia Future Conference 2013. Bangkok, Thailand (Poster Presentation)

Kinsui, S. & Yamakido, H. (2015)Role Language and Character Language. Acta Linguistica Asiatica.5(2), 29-41.

Siriacha, R.(1993)「日本語とタイ語の自称詞の対照研究―認知言語学の観点から見た出現数と種類の差異―」『国際文化研究』東北大学

国際文化学会

金水敏(1993)『ヴァーチャル日本語 役割語の謎』岩波書店

金水敏編(2009)『役割語研究の地平』くろしお出版

金水敏編(2011)『役割語研究の展開』くろしお出版 

金水敏編(2014)『<役割語>小辞典』研究社

酒井彩他(2019)『キャラで学ぶ友だち日本語』くろしお出版

定延利之(2007)「キャラ助詞が現れる環境」金水敏編『役割語研究の地平』くろしお出版

定延利之(2011)「キャラクタは文法をどこまで変えるか?」金水敏編『役割語研究の展開』くろしお出版

田中ゆかり(2011)『「方言コスプレ」の時代―ニセ関西弁から龍馬語まで』岩波書店

田森庸介(2015)『ポポロクロニクル 白き竜』偕成社

メイナード、泉子K.(2001)「日本語文法と感情の接点-テレビドラマに会話分析を応用して-」『日本語文法』1-1、日本語文法学会、90-110

メディアワークス(2000)『ポポロクロイス物語Ⅱ公式ファンブック』


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


User
Notifications
Journal Content

Browse
Font Size