VACANA
School of Liberal Arts
Mae Fah Luang University

ISSN: 2287-0903

 

กลวิธีการแปลคำทางวัฒนธรรมจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ กรณีศึกษาเรื่อง เรื่องของจัน ดารา แต่งโดย อุษณา เพลิงธรรม

วราพัชร ชาลีกุล, สานุช เสกขุนทด ณ สถาง

Abstract


บทคัดย่อ

 

บทความเรื่องกลวิธีการแปลคำทางวัฒนธรรมจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ กรณีศึกษาเรื่อง เรื่องของจัน ดารา แต่งโดย อุษณา เพลิงธรรม มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษากลวิธีทั้งหมดที่ผู้แปลใช้ในการแปลคำทางวัฒนธรรม 2) ศึกษากลวิธีที่ใช้ในการแปลคาทางวัฒนธรรมแต่ละประเภท ผู้วิจัยจำแนกคำทางวัฒนธรรมที่พบในนวนิยายจำนวน 247 คำ เป็น 5 ประเภทตามเกณฑ์ที่เสนอโดยไนด้า (1964) ได้แก่ คำทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับนิเวศ 3 คำ คำทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ 28 คำ คำทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับสังคม 65 คำ คำทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนา 45 คำและคำทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับภาษา 106 คำ และศึกษากลวิธีการแปลที่ผู้แปลใช้ตามแนวความคิดที่เสนอโดยนิวมาร์ก (1995) 8 กลวิธี 1) กลวิธีการแปลโดยใช้คายืม 2) กลวิธีการแปลตรงตัว 3) กลวิธีการแปลโดยใช้คาที่มีความหมายกว้างกว่าต้นฉบับ 4) กลวิธีการแปลโดยใช้คำที่มีความหมายเป็นกลาง 5) กลวิธีการแปลโดยการใช้คำบัญญัติ 6) กลวิธีการแปลโดยการแทนที่ด้วยสิ่งที่มีในวัฒนธรรมปลายทาง 7) กลวิธีการแปลโดยการอธิบายความ 8) กลวิธีการแปลโดยการละ รวมถึงกลวิธีที่ใช้กับคำทางวัฒนธรรมประเภทต่างๆ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า คำบางประเภทมีการใช้กลวิธีที่ชัดเจน แต่คำบางประเภทไม่มีหลักเกณฑ์การใช้กลวิธีที่แน่ชัดเท่าใดนัก

                                                     

Abstract

This study investigates the translation of Thai cultural words into English in “The Story of Jan Dara” by Utsana Plengtham. The main objectives of the study are to identify 1) translation methods used in the translation of all the cultural words in question and 2) the methods used for each category of cultural words. There were 247 cultural words identified in the novel for the purposes of this study. Based on Nida ’s (1964) five categories of cultural words,  there were 3 words on ecology,  28 words on material culture, 65 words on social culture, 45 words on religious culture and 106 words on linguistic culture. Newmark’s (1995) 8 translation methods were then investigated, namely, 1) transference, 2) literal translation, 3) classifiers, 4) neutralization, 5) accepted standard translation, 6) cultural equivalent, 7) paraphrasing and 8) deletion. In particular, the study explores the extent to which these methods were used in each cultural word category. The results reveal that some categories of cultural words highly favour certain translation methods while in other cases, such preferences are less clear.


Keywords


คำทางวัฒนธรรม การแปลคำทางวัฒนธรรม กลวิธีการแปล

Full Text:

PDF

References


Al-Masri, H. (2009). Translation and Cultural Equivalence: A Study of Translation Losses in Arabic Literary Texts. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/314085045_Translation_and_Cultural_Equivalence_A_Study_of_Translation_Losses_in_Arabic_Literary_Texts

Aungsuwan, W. (2015). Cultural Word and Phrase Translation from Thai into English in Buddhist books: A Case Study of Vajiramedhi’s work. Retrieved from http://icts.utcc.ac.th/wp-content/uploads/2014/12/Cultural-Word-and-Phrase-Translation-from-Thai- into-English-in-Buddhist-books.pdf

Baker, M. (2005). In other words. London: Routledge.

Cambridge Dictionary, “fearful.” Retrieved from https://dictionary.cambridge.org/dictionary/english/fearful

Gambier, Y. (2007). Doubts and Directions in Translation Studies, The Netherlands: John Benjamins.

Hymes, D. (1964). Language in Culture and Society. New York: Harper & Row.

Lander, C. E. (2001). Literary Translation A Practical Guide. Clevedon: Multilingual Master Ltd.

Newmark, P. (1995). A textbook of translation. New York: Phoenix ELT.

Nookkil. (ม.ป.ป). บทวิจารณ์ : แผลเก่า ๒๕๕๗ รอยแผลเป็นทางสังคมไทย ?. ค้นจากhttps://isanook.wordpress.com/2014/08/16/วิจารณ์-แผลเก่า

Nord, C. (1997). Translation as a Purposeful Activity. Manchester: St Jerome.

Oxford. (2000). Oxford advance learner’s dictionary. England: Oxford University Press.

ท.ณ เมืองกาฬ. (ม.ป.ป). จัน ดารา กับเพศศึกษาในสังคมไทย. ค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/270363

ประภาศรี สีหอำไพ. (2550). วัฒนธรรมทางภาษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่น.

ศศิ เอาทารยกุล. (2557). การศึกษาการแปลข้ามวัฒนธรรมจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษในบทบรรยายใต้ภาพของภาพยนตร์ไทย. มหาวิทยาลัยมหิดล, (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา.

สุพิศวง ธรรมพันทา. (2532). พื้นฐานวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: ดี.ดี. บุ๊คสโตร์.

สุพรรณี ปิ่นมณี. (2552). การแปลขั้นสูง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อุษณา เพลิงธรรม. (2542). เรื่องของจัน ดารา. กรุงเทพฯ: แพรวสำนักพิมพ์.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


User
Notifications
Journal Content

Browse
Font Size